- Waterhouse et al. (2001) ศึกษาบทบาทของการงีบหลับกลางวัน ต่อการเพิ่มความจำของระบบประสาท และประสิทธิภาพการวิ่งระยะสั้นในกลุ่มผู้ที่มีภาวะอดนอนระดับปานกลางปานกลาง โดยให้กลุ่มตัวอย่างนอนในเวลา 23.00 – 03.00 น. และให้งีบกลางวัน 30 นาที ในช่วงเวลา 13.00 – 13.30 น. ผลการวิจัยพบว่า การงีบหลับกลางวันสามารถเพิ่มความตื่นตัว สมรรถภาพทางจิตใจ และประสิทธิภาพในการวิ่งระยะสั้นในภาวะอดนอนระดับปานกลาง
- James (2006) ศึกษาผลของการงีบหลับและบริโภคกาแฟ เพื่อจัดการภาวะนอนน้อยระหว่างคืนที่ต้องการมีการควบเวร ผลการวิจัยพบว่า ท้ังการงับหลับ และบริโภคกาแฟ สามารถเพิ่มในเรื่องของการตื่นตัว และประสิทธิภาพการทำงานของคนทำงานเวรกลางคืน และการประยุกต์รวมทั้งการงีบหลับเข้ากับการดื่มกาแฟ ทำให้เกิดประโยชน์มากที่สุด เป็นการเพิ่มความตื่นตัวและประสิทธิภาพร่างกายของคนที่ทำงานเวรกลางคืนเป็นความสามารถที่ท้าทาย แม้ว่าจะมีการนอนกลางวันที่เพียงพอ " การงีบหลับก่อนที่จะทำงานร่วมกับการดื่มกาแฟในขณะที่มีการทำงาน เป็นกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพสำหรับการคงไว้ซึ่งความตื่นตัวให้คงอยู่สำหรับคนที่ต้องการทำงานในเวรกลางคืน "
วันจันทร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2562
งานวิจัยเกี่ยวกับการนอนหลับกลางวัน⏳🔍
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
งานวิจัยเกี่ยวกับการนอนหลับกลางวัน ⏳ 🔍 Waterhouse et al. (2001) ศึกษาบทบาทของการงีบหลับกลางวัน ต่อการเพิ่มความจำของระบบประสาท และประสิทธ...
-
ประโยชน์ข้อแรกของการนอนกลางวัน🔺⟲ 1. ลดความเครียด ช่วยให้สมองสดใส คิดงานง่ายขึ้น 2. เรียกพลังให้สมองตื่นตัวมากขึ้น ...
-
งานวิจัยเกี่ยวกับการนอนหลับกลางวัน ⏳ 🔍 Waterhouse et al. (2001) ศึกษาบทบาทของการงีบหลับกลางวัน ต่อการเพิ่มความจำของระบบประสาท และประสิทธ...
แรงใจอะมีน้อย แต่แรงอ่อยเค้ามีเยอะ sexy-baccarat
ตอบลบติดตามข่าวสารงานวิจัยก่อนใคร starvegas
ตอบลบ